วันอาทิตย์ที่ 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

ประโยชน์

ประโยชน์ของการฝึก • เพื่อให้จิตใจฮึกเหิม มีความกล้า • เพื่อให้ได้ความรู้เพิ่มเติมอยู่เสมอ • เพื่อให้จิตใจแข็งแกร่ง กล้าตัดสินใจ • เพื่อทดสอบฝีมือเข้าอาสารับใช้ประเทศชาติ โดยการประลองฝีมือกัน

การขึ้นพรหมยืน

การขึ้นพรหมยืน • พรหมยืน ให้หันหน้าเข้าหาคู่พรหมนั่ง วางกระบี่ปลายชี้ไปข้างหน้าห่างกึ่งกลางเข่าทั้งสองพอประมาณ • ประณมมือ ถวายบังคม 3 ครั้ง • ประณมมือ วันทา แล้วหยิบกระบี่ทัดหูเฉียง 45 องศา ตั้งเข่าซ้าย อ่านเพิ่มเติม

วันอาทิตย์ที่ 8 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2558

ท่ารำ12ไม้



  มีดังนี้ 
    1. ไม้รำที่ 1 ลอยชาย ทิศในการเดิน เดินเฉียงแบบสลับฟันปลาเริ่มจากท่าคุมรำ
จังหวะที่ 1 ก้าวเท้าซ้ายเฉียงไปขวา วางเท้าซ้ายลงหน้าเท้าขวาลักษณะทำกึ่งขวาหันโล้น้ำหนักตัวไปข้างหน้า เข่าซ้ายงอเล็กน้อย
จังหวะที่ 2 ก้าวเท้าขวาชิดเท้าซ้าย ลำตัวตรง รักษาระดับกระบี่ให้ขนานพื้น
จังหวะที่ 3 ยกเข่าซ้ายขึ้นตั้งฉาก ปลายเท้างอขึ้น แล้วใช้มือซ้ายรำหน้าให้ตัวนิ่ง
จังหวะที่ 4 หมุนตัวไปทางซ้าย 1 มุมฉากวางเท้าซ้ายลงพร้อมกับวางกระบี่ ให้กระบี่ขนานกับพื้นไปทางซ้ายของลำตัวระดับเอว ปลายกระชี่ชี้ไปข้างหน้า มือซ้ายจีบที่หน้าอก อ่านเพิ่มเติม

การถวายบังคม

การ ถวายบังคม เป็นราชประเพณีถวายความเคารพพระมหากษัตริย์ ในงานพระราชพิธีสำคัญ ก่อนที่จะถวาย บังคมต้องนั่งอยู่ในท่าเตรียมคือ นั่งคุกเข่าปลาย เท้าตั้ง นั่งบนส้นเท้าเช่นเดียวกันทั้งชาย และหญิง มือทั้งสองวางคว่ำเหนือเข่าทั้งสอง ข้าง ชายนั่งแยกเข่าได้เล็กน้อย หญิงนั่งเข่า ชิด อ่านเพิ่มเติม

วันอาทิตย์ที่ 18 มกราคม พ.ศ. 2558

การขึ้นพรหมนั่ง



การขึ้นพรหม ประกอบด้วย การขึ้นพรหมนั่ง และการขึ้นพรหมยืน 

         2.1 การขึ้นพรหมนั่ง • พรหมนั่งให้นั่งหันขวาเข้าหาคู่นั่งพรหมยืน • กระบี่วางด้านข้างกายทางซ้าย • ประณมมือ ถวายบังคม 3 ครั้ง • ประณมมือวันทา แล้วหยิบกระบี่
อ่านเพิ่มเติม

ประวัติกระบี่กระบอง


การเล่นกระบี่กระบองเป็นพื้นฐานเบื้องต้นส่วนหนึ่งของศิลปะการต่อสู้ของไทย ที่เรียกว่า กระบี่กระบอง เพราะเป็นกีฬาที่บรรพบุรุษไทยนำเอาศิลปะการต่อสู้ป้องกันตัวด้วยอาวุธที่ใช้สู้รบกันในสมัยโบราณ มาฝึกซ้อมและเล่นในยามสงบ โดยนำหวายมาทำเป็นกระบี่ ดาบ ง้าว ฯลฯ เอาหนังมาทำโล่ เขน ดั้ง ฯลฯ แล้วจัดมาตีต่อสู้กันเล่นหรือแข่งขันกันเป็นคู่ ๆ ดุจสู้กันในสนามรบเป็นการฝึกหัดรุกและรับไปในตัว อ่านเพิ่มเติม